Workflow for Training AI to Model Early King Rama VI Era Fashion

By integrating both Western and Thai fashion images, this AI training workflow ensures historically accurate silhouettes, fabric details, and period aesthetics for Rama VI-era fashion.

Workflow for Training AI to Model Early King Rama VI Era Fashion

This is my workflow for training an AI model to create fashion representations from the early reign of King Rama VI (1910–1925). I have focused on the early period (1910–1915), which was still influenced by late Edwardian fashion. The defining elements of this era's fashion include intricate women's blouses and distinctive hairstyles.

Although Thai women of this era commonly wore blouses paired with chongkraben (traditional wrap pants), I have selected Western original images as reference points to achieve a more accurate silhouette. During the AI training process, I will combine colourised photographs of Thai fashion from the Rama VI era (sourced from the National Archives of Thailand) with Western original fashion images. This approach ensures the best results in terms of both historical accuracy and realistic period silhouettes.

1. Curate and Collect Reference Images

Find high-quality reference images

* Gather images from public domain or fair-use sources such as archives and museums.

* Focus on Edwardian fashion from 1910–1915, aligning with the early reign of King Rama VI.

* Use both Western and Thai sources to ensure historical accuracy.

Key reference sources

* National Archives of Thailand (for Thai women's fashion of that era).

* Europeana, British Museum, Met Museum, Getty Images (for Western Edwardian fashion).

2. Enhance the Quality of Original Images

Increase resolution & restore image quality

* Use AI upscaling tools like Topaz Gigapixel AI to enhance sharpness.

* Remove scratches, dust, and noise using Photoshop.

* Improve details in faces, clothing, and fabric textures for higher clarity.

Adjust facial features for Thai authenticity

* Apply LoRa models in ComfyUI Flux Dev to maintain realistic Thai facial structures.

* Use face-swapping engines to ensure the generated models reflect Thai facial features.

3. Colourise Black-and-White Photos Accurately

Use historically accurate colourisation

* Apply AI colourisation models such as DeOldify, Palette

* Compare AI-generated colours with:

* Historical fabric records.

* Paintings and period photographs with original colours.

Refine colours and fix imperfections

* Use Photoshop’s Dust & Scratches filter to remove imperfections.

* Adjust hue, saturation, and lighting for more natural and accurate colour tones.

4. Blend Thai and Western Fashion Elements

Design while considering Thai and Western influences

* Combine Thai-style blouses (traditionally worn with chongkraben or a sarong) with Western silhouettes.

* Ensure pleating, lace details, and accessories match the period.

* Emphasise Rama VI-era fashion by incorporating both Western and Thai references to achieve a historically accurate silhouette.

Modify and refine using AI tools

* Use inpainting techniques in Krea, MidJourney Editor, or Flux Redux to blend elements seamlessly.

* Adjust sleeves, collars, lacework, and fabric draping for a natural look.

5. Train the AI Model to Recognise Rama VI-Era Fashion

Use AI fine-tuning tools

* Train a custom AI model using Krea Training for Thai Edwardian fashion.

* Utilise Flux models in ComfyUI to refine AI's understanding of tailoring, fabric details, and dress composition.

Build a high-quality dataset

* Combine colourised Thai fashion images + enhanced Western fashion references.

* Ensure a dataset of 100–200 high-quality images for optimal AI training results.

6. Generate and Refine AI-Enhanced Fashion Images

Use detailed prompts for AI rendering

* Specify:

* Fabric type (silk, lace, embroidery).

* Trims & embellishments (pearls, ribbons, buttons).

* Historically accurate hairstyles (Edwardian updos, hairpins, decorative headpieces).

Final refinements and adjustments

* Adjust lighting, composition, and colour balance for a polished result.

* Use MidJourney Editor or Photoshop to fix minor imperfections and enhance realism.

Why Is This Workflow Effective?

No coding required – Uses visual AI tools like Krea, MidJourney, and ComfyUI Flux Dev Redux.

Fast and efficient – AI speeds up image restoration and enhancement.

Historically accurate – Blends Thai and Western fashion to preserve period-appropriate silhouettes.

Custom AI training – Builds a model specifically tailored to Rama VI-era fashion.

By integrating both Western and Thai fashion images, this AI training workflow ensures historically accurate silhouettes, fabric details, and period aesthetics for Rama VI-era fashion.

Workflow การฝึก AI เพื่อสร้างแบบจำลองแฟชั่นในยุครัชกาลที่ 6 ตอนต้น

นี้คือ แนวทางการทำงานของผม ในการฝึก โมเดล AI เพื่อสร้างแฟชั่นในช่วงต้นรัชกาลที่ 6 (พ.ศ. 2453-2468) ผมได้มุ่งเน้นไปที่ ช่วงต้นของยุคนี้ (พ.ศ. 2453-2458) ซึ่งยังคงได้รับอิทธิพลจาก แฟชั่นปลายยุคเอ็ดเวิร์ดเดียน (Edwardian fashion) จุดเด่นของแฟชั่นยุคนี้คือ เสื้อสตรีที่มีรายละเอียดประณีตและทรงผมที่เป็นเอกลักษณ์

แม้ว่าหญิงไทยในยุคนี้จะนิยม สวมเสื้อเข้าชุดกับโจงกระเบน แต่ผมได้เลือกใช้ ภาพต้นฉบับของแฟชั่นตะวันตก เพื่อเป็นแบบอ้างอิงสำหรับซิลูเอตที่ถูกต้อง ในระหว่าง กระบวนการฝึก AI ผมจะ ผสมผสานภาพถ่ายแฟชั่นของหญิงไทยในยุครัชกาลที่ 6 ที่ผ่านการลงสีจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติของไทย เข้ากับภาพต้นฉบับของแฟชั่นตะวันตก เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ทั้งในด้าน ความถูกต้องทางประวัติศาสตร์และความสมจริงของซิลูเอตของยุคสมัย

1. คัดเลือกและรวบรวมภาพอ้างอิง

ค้นหาภาพอ้างอิงที่มีคุณภาพสูง

* รวบรวมภาพจาก แหล่งข้อมูลสาธารณะ (public domain) หรือแหล่งที่ใช้ได้ตามกฎหมาย (fair-use)

* เน้น แฟชั่นสไตล์เอ็ดเวิร์ดเดียนช่วงปี 1910–1915 ซึ่งเป็นช่วงต้นของรัชกาลที่ 6

* ใช้ทั้ง แหล่งข้อมูลตะวันตกและไทย เพื่อให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง

แหล่งข้อมูลสำคัญ

* หอจดหมายเหตุแห่งชาติของไทย (สำหรับแฟชั่นหญิงไทยยุคนั้น)

* Europeana, British Museum, Met Museum, Getty Images (สำหรับแฟชั่นตะวันตก)

2. ปรับปรุงคุณภาพของภาพต้นฉบับ

เพิ่มความละเอียดและฟื้นฟูคุณภาพของภาพ

* ใช้ AI upscaling tools เช่น Topaz Gigapixel AI เพื่อปรับปรุงความคมชัด

* ลบ รอยขีดข่วน ฝุ่น และจุดรบกวน ด้วย Photoshop

* ปรับปรุงรายละเอียด ใบหน้า เครื่องแต่งกาย และเนื้อผ้า เพื่อความคมชัดที่ดียิ่งขึ้น

ปรับแต่งใบหน้าให้คงความเป็นไทย

* ใช้ LoRa models ใน ComfyUI Flux Dev เพื่อคงลักษณะทางกายภาพที่สมจริง

* ใช้ face-swapping engine เพื่อให้ใบหน้าของแบบจำลองมีความเป็นไทยมากขึ้น

3. ลงสีภาพขาวดำให้สมจริง

ใช้การลงสีที่ถูกต้องตามประวัติศาสตร์

* ใช้โมเดล AI สำหรับลงสี เช่น DeOldify, Palette

* เปรียบเทียบสีที่ AI สร้างขึ้นกับ:

* บันทึกเกี่ยวกับเนื้อผ้าและสีสันของยุคนั้น

* ภาพวาดหรือภาพถ่ายที่มีสีต้นฉบับ

ปรับแต่งสีและแก้ไขจุดบกพร่อง

* ใช้ Photoshop’s Dust & Scratches filter เพื่อลบรอยตำหนิ

* ปรับ เฉดสี ความอิ่มตัว และแสงเงา ให้สมจริง

4. ผสมผสานแฟชั่นไทยและตะวันตก

ออกแบบโดยคำนึงถึงองค์ประกอบแฟชั่นไทยและตะวันตก

* นำ เสื้อแบบไทย (ที่นิยมใส่คู่กับโจงกระเบนหรือผ้าถุง) มาผสมกับซิลูเอตแบบตะวันตก

* ตรวจสอบให้แน่ใจว่า การพับจีบ รายละเอียดของลูกไม้ และเครื่องประดับ ถูกต้องตามยุคสมัย

* เน้น แฟชั่นยุครัชกาลที่ 6 โดยใช้ทั้งภาพอ้างอิงจากแฟชั่นตะวันตกและไทย เพื่อให้ได้ซิลูเอตที่เหมาะสม

ปรับแต่งเพิ่มเติมโดยใช้ AI

* ใช้ inpainting techniques ใน Krea, Midjourney Editor หรือ Flux Redux เพื่อแก้ไขและผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ

* แก้ไข แขนเสื้อ คอเสื้อ ลวดลายลูกไม้ และเนื้อผ้า ให้ดูเป็นธรรมชาติ

5. ฝึก AI โมเดลให้เข้าใจแฟชั่นของยุครัชกาลที่ 6

ใช้เครื่องมือ AI สำหรับการปรับแต่งเฉพาะทาง

* ฝึก โมเดล AI แบบเฉพาะทาง ด้วย Krea Training สำหรับแฟชั่นไทยในยุคเอ็ดเวิร์ดเดียน

* ใช้ Flux models ใน ComfyUI เพื่อให้ AI เข้าใจลักษณะของ การตัดเย็บ รายละเอียดของเนื้อผ้า และการจัดวางของชุด

สร้างฐานข้อมูลที่มีคุณภาพ

* ผสม ภาพถ่ายแฟชั่นไทยที่ลงสีแล้ว + ภาพแฟชั่นตะวันตกที่ผ่านการแก้ไข

* สร้างฐานข้อมูลที่มีคุณภาพ 100–200 ภาพ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

6. สร้างและปรับแต่งภาพแฟชั่นที่สร้างจาก AI

ใช้คำสั่ง (prompt) ที่มีรายละเอียดสูง

* กำหนด:

* ประเภทของเนื้อผ้า (ไหม ลูกไม้ ผ้าปัก)

* ลวดลายและเครื่องประดับ (มุก ริบบิ้น กระดุม)

* ทรงผมที่ถูกต้องตามยุคสมัย (มวยผมสไตล์เอ็ดเวิร์ดเดียน ปิ่นปักผม เครื่องประดับศีรษะ)

ปรับแต่งรายละเอียดขั้นสุดท้าย

* ปรับแสง สี และคอมโพสให้ดูสมจริง

* ใช้ MidJourney Editor หรือ Photoshop แก้ไขจุดเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์แบบ

ทำไมแนวทางนี้ถึงมีประสิทธิภาพ?

ไม่ต้องใช้การเขียนโค้ด – ใช้เครื่องมือที่เป็น AI ในการเจนภาพ (visual AI tools) เช่น Krea, MidJourney, ComfyUI Flux Dev Redux เร็วและง่ายต่อการทำงาน – ลดเวลาการรีทัชภาพด้วย AI

คงความถูกต้องทางประวัติศาสตร์ – ผสมผสานแฟชั่นไทยและตะวันตกให้สมจริง

ฝึก AI ให้เข้าใจแฟชั่นไทยในยุครัชกาลที่ 6 – สร้างโมเดล AI ที่เหมาะกับการออกแบบเสื้อผ้าในยุคนี้โดยเฉพาะ

ด้วยการใช้ ทั้งภาพแฟชั่นตะวันตกและแฟชั่นไทย แนวทางการฝึก AI นี้จะช่วยให้สามารถ สร้างภาพแฟชั่นในยุครัชกาลที่ 6 ได้อย่างถูกต้อง ทั้งในด้าน โครงร่างของชุด รายละเอียดของเนื้อผ้า และความสมจริงขององค์ประกอบ

#aifashionlab #AI #aiartist #aiart #aifashion #aifashiondesign #aifashionstyling #aifashiondesigner #fashion #fashionhistory #historyoffashion #fashionstyling #fashionphotography #digitalfashion #digitalfashiondesign #digitalcostumedesign #digitaldesign #digitalaiart

Previous
Previous

Late Edwardian Elegance in Siam: Fashion During the Early Reign of King Rama VI (1910-1915)

Next
Next

Thai Fashion During the Later Reign of King Chulalongkorn (Rama V), circa 1900