Women’s Fashion in Late Edwardian Siam: A Study of Pre-War Fashion and Western Influences

In 1910s, Western fashion was increasingly influencing Siamese aristocratic attire, especially in the royal court. Western-style blouses with lace embellishments and sailor collars became common, while jong kraben remained the standard lower garment among court women

Women’s Fashion in Late Edwardian Siam: A Study of Pre-War Fashion and Western Influences

Pre-War Fashion and the Influence of the Edwardian Era

Pre-war fashion was a significant period of transition in women's fashion. The early 20th century, particularly the late reign of King Edward VII (Edwardian Era, reigned 1901–1910), marked the final phase of elaborate and structured clothing before garments gradually shifted towards simpler and more practical designs.

During this time, fashion silhouettes were evolving from the rigid, corseted styles of the 19th century into more fluid, movement-friendly designs. This change became especially noticeable in the Teens Fashion period (1911–1919), which introduced a looser silhouette, narrower waistlines, and softer draping.

Pre-War and Post-War Fashion in the Teens Era

The Teens Fashion period (1911–1919) is often divided into two phases:

  • Early Teens Fashion (1911–1914) → Pre-War Fashion, which retained much of the elegance of the Edwardian era but with a gradual softening of structure.

  • Late Teens Fashion (1919–1919) → Post-War Fashion, which saw significant changes due to World War I (1914–1918), leading to simpler, practical designs that transitioned into the 1920s styles.

However, in Siam, under the reigns of King Chulalongkorn (Rama V, reigned 1868–1910) and King Vajiravudh (Rama VI, reigned 1910–1925), aristocratic women adopted Western-style blouses while retaining jong kraben, maintaining a distinct fusion of modernity and tradition.

The Importance of Reigning Monarchs in Fashion History

Fashion history is often categorised according to the reigning monarchs of a given period, as their courts influence dress trends. The transition between Rama V and Rama VI in Siam aligns with the Edwardian era and the Teens Fashion period in Britain and Europe, making it essential to consider both in historical fashion studies.

By referencing both Siamese and British monarchs, we can better contextualise the impact of global fashion trends on Siamese court attire, particularly as Western influences grew during the early 20th century.

Estimating Queen Rambai Barni’s Age and Fashion Context

Queen Rambai Barni was born on 20 December 1904 (B.E. 2447). If we examine her black-and-white photographs from childhood, we can estimate that she was between 8 to 12 years old, dating the image to approximately 1912–1916 (B.E. 2455–2459)—a critical period before World War I.

At this time, Western fashion was increasingly influencing Siamese aristocratic attire, especially in the royal court. Western-style blouses with lace embellishments and sailor collars became common, while jong kraben remained the standard lower garment among court women. The continued use of jong kraben in combination with European blouses reflected not only cultural traditions but also complex socio-political and economic factors.

Why Jong Kraben Remained in the Siamese Court

Although Western fashion had begun influencing the Siamese royal court in the early 20th century, jong kraben remained popular among aristocratic women for several key reasons:

1. Preservation of Siamese Tradition

Siam was undergoing modernisation but sought to maintain a cultural identity distinct from Western colonial influences. Retaining jong kraben while adopting Western-style blouses created a balanced approach to modernity while preserving traditional values.

2. Colonial Influence and Crypto-Colonialism

Although Siam was never colonised, it engaged in strategic Westernisation to present itself as a modern nation. The selective adoption of Western blouses while keeping jong kraben was a subtle way of negotiating colonial influence while maintaining cultural sovereignty. This reflects crypto-colonialism, where a country modernises under Western influence while retaining local traditions.

3. The Court Hierarchy and Status of Textiles

Textiles in the Siamese royal court were more than clothing; they were a status symbol. Different types of fabric were distributed annually as royal gifts, determining the rank and status of court members.

  • Only those of high status were granted certain textiles for jong kraben, reinforcing hierarchy through visible clothing distinctions.

  • The type of fabric worn indicated social rank, meaning that jong kraben served as an immediate visual marker of status within the court system.

4. Economic and Social Implications of Court Textiles

Many fabrics used for jong kraben, such as Indian gold brocade, Thai woven silk, and imported European textiles, were valuable economic assets. The control of textile distribution by the court reinforced economic power and social structure. Wearing royal textiles signified allegiance to the monarchy and ensured that court dress remained distinct from commoners.

The Importance of the Collar in Late Edwardian and Siamese Teenage Fashion

A key characteristic of fashion in the early 1910s was the distinctive collar, which signified both Western influence and a transition towards a modern aesthetic. The period saw various collar styles, including:

  • Large sailor collars with decorative trim, reflecting maritime fashion popular in both Europe and Siam.

  • Soft rounded collars with lace or embroidery, often paired with delicate pintucks and mother-of-pearl buttons.

  • Pointed shirt collars in tailored blouses, demonstrating increasing practicality in women’s clothing.

In the AI-enhanced photograph, Queen Rambai Barni’s blouse features a striped and buttoned design with a contrast collar, a style typical of late Edwardian and early pre-war fashion. This is consistent with contemporary Western illustrations while also reflecting the way Siamese women adapted Western elements into their courtly dress.

Fashion and the Pre-War Transition

By the 1910s, the rigid S-bend corsets of the early Edwardian period had given way to a more natural silhouette, which influenced even teenage and aristocratic fashion. Young women in Siam adopted looser Western blouses, sometimes with puffed sleeves or lace embellishments, but continued to wear the jong kraben as a marker of their rank.

The growing practicality of women’s dress during this time foreshadowed the dramatic changes that would occur during and after World War I. In the West, women’s clothing became simplified and androgynous, leading to the boyish styles of the 1920s. In Siam, court fashion continued to incorporate both Western elements and traditional attire, preserving the visual hierarchy of status while embracing modern influences.

The Role of AI in Fashion History and Art Historiography

Studying historical fashion requires not only an understanding of silhouettes and period-specific details but also the ability to interpret old photographs and artwork. AI technology has become a tremendous tool for fashion historians, allowing for restoration, enhancement, and reinterpretation of historical images.

Through AI-enhanced photography, we can:

  • Reconstruct faded or cropped images to better understand complete outfits worn by historical figures.

  • Visualise lost or undocumented styles based on partial photographs or paintings.

  • Create a new historiography of fashion, enabling scholars to explore sartorial trends from multiple perspectives.

AI-Enhanced Images of Queen Rambai Barni

The AI-enhanced images presented here were created with aesthetic and visual artistry to reimagine and enhance the understanding of historical fashion. These images allow for a more vivid interpretation of fashion silhouettes from the Teens Fashion period (1911–1919), particularly in colour, which is often lost in black-and-white historical photographs.

The subject of these images is Queen Rambai Barni when she was young, captured during the early 20th century in the pre-war fashion era. The original black-and-white photographs provide a glimpse into the attire worn by aristocratic Siamese women during this period, while the AI-enhanced versions help restore colour, texture, and finer details, allowing us to better appreciate the sartorial choices of the time.

One of the significant modifications in these AI-enhanced images is the transformation of the blouse style to better align with Western fashion trends of the period. In one of the enhanced versions, Queen Rambai Barni is depicted wearing an ivory lace blouse with a sailor collar, a shirtwaist style typical of the Teens Fashion period. This stylistic choice reflects the fusion of Western influence with traditional Siamese attire, showcasing how fashion adapted within the context of the early 20th century.

These AI-generated images not only help in imagining fashion silhouettes in colour but also serve as a tool for understanding the evolution of fashion through a historical and artistic lens.

Conclusion

The study of fashion in early 20th-century Siam highlights the negotiation between tradition and modernity. The fusion of Western blouses with traditional jong kraben was not just a stylistic choice but a reflection of status, power, and cultural identity.

AI technology now allows us to reconstruct and reinterpret historical photographs, making it easier to visualise past fashion trends in ways previously unimaginable. By integrating AI into fashion historiography, we can preserve, analyse, and recontextualise historical attire, providing new insights into the evolution of dress in both Siamese and global contexts.

แฟชั่นวัยรุ่นสตรีในช่วงรัชกาลที่ 6 ตอนต้น: การศึกษาประวัติศาสตร์แฟชั่นในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 และอิทธิพลตะวันตกในสยาม

แฟชั่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 และอิทธิพลจากยุคเอ็ดเวิร์ดเดียน

แฟชั่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 (Pre-War Fashion) เป็นช่วงเวลาสำคัญของการเปลี่ยนแปลงด้านแฟชั่นในช่วงต้นคริสต์

ศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะช่วงปลายรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (Edwardian Era, ครองราชย์ ค.ศ. 1901–1910) ถือเป็นยุคสุดท้ายของแฟชั่นที่เน้น ความหรูหรา โครงสร้างที่ประณีต และรายละเอียดที่ได้รับอิทธิพลจากคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก่อนที่เสื้อผ้าจะเปลี่ยนไปสู่ความเรียบง่ายและความคล่องตัวมากขึ้น

ในช่วงนี้ โครงร่างของแฟชั่นสตรี (Fashion Silhouette) กำลังเปลี่ยนผ่านจากโครงสร้างที่รัดรูปไปสู่รูปแบบที่เน้นความสะดวกสบายและเหมาะการเคลื่อนไหวมากขึ้น เห็นได้ชัดจากแฟชั่นช่วง Teens Fashion (ค.ศ. 1911–1919) ที่เริ่มมีการลดทอนรายละเอียดที่เป็นทางการลง และมีแนวโน้มการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของเสื้อผ้าไปสู่ความเรียบง่ายมากขึ้น ซึ่งเป็นสัญญาณของการเปลี่ยนผ่านสู่แฟชั่นยุค 1920

Teens Fashion และการแบ่งช่วงแฟชั่นก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่ 1

Teens Fashion (ค.ศ. 1911–1919) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วงหลัก ได้แก่

  • Early Teens Fashion (ค.ศ. 1911–1914) → แฟชั่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 (Pre-War Fashion) ซึ่งยังคงความสง่างามของยุคเอ็ดเวิร์ดเดียน แต่เริ่มลดความรัดรูปของโครงสร้างเสื้อผ้าลง

  • Late Teens Fashion (ค.ศ. 1919–1919) → แฟชั่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (Post-War Fashion) ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากเนื่องจากผลกระทบของ สงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914–1918) ทำให้เกิดเสื้อผ้าที่ เรียบง่ายขึ้น เน้นประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น และพัฒนาไปสู่แฟชั่นยุค 1920

อย่างไรก็ตาม ใน สยาม ภายใต้รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5 ครองราชย์ พ.ศ. 2411–2453) และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6 ครองราชย์ พ.ศ. 2453–2468) แม้ว่าสตรีชนชั้นสูงจะเริ่มรับเอาเสื้อแบบตะวันตกมาใช้มากขึ้น แต่ก็ยังคงรักษาเอกลักษณ์ของตนเองผ่านการ นุ่งโจงกระเบน ซึ่งสะท้อนถึงความพยายามในการปรับตัวให้ทันสมัยโดยไม่สูญเสียอัตลักษณ์ของชาติ

ความสำคัญของรัชกาลและอิทธิพลต่อแฟชั่นประวัติศาสตร์

ในการศึกษาประวัติศาสตร์แฟชั่น มักอ้างอิง รัชกาลของพระมหากษัตริย์ในแต่ละยุค เพื่อกำหนดขอบเขตของรูปแบบแฟชั่น เนื่องจาก ราชสำนักมักเป็นผู้กำหนดแนวโน้มของการแต่งกายในแต่ละยุค

การกล่าวถึงทั้ง รัชกาลของพระมหากษัตริย์ไทยและพระมหากษัตริย์อังกฤษ ทำให้สามารถเข้าใจ บริบทของแฟชั่นระดับโลกที่มีอิทธิพลต่อสยามในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้ชัดเจนขึ้น

การประมาณพระชนมายุของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีและบริบททางแฟชั่น

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ประสูติเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) หากพิจารณาภาพถ่ายขาวดำเมื่อทรงพระเยาว์ และเปรียบเทียบกับแนวโน้มแฟชั่นในยุคนั้น สามารถประมาณ พระชนมพรรษา ของพระองค์จากพระฉายาลักษณ์ต้นฉบับได้ระหว่าง 8-12 พรรษา ซึ่งหมายความว่าภาพนี้อาจถูกถ่ายขึ้นในช่วงประมาณ พ.ศ. 2455-2459 (ค.ศ. 1912-1916) ซึ่งเป็นช่วงเวลาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1

ในช่วงเวลานี้ แฟชั่นตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลต่อการแต่งกายของชนชั้นสูงในสยาม โดยเฉพาะในราชสำนัก แม้ว่าเครื่องแต่งกายแบบไทยยังคงเป็นที่นิยมในงานพิธีและโอกาสสำคัญ แต่เสื้อแบบตะวันตก เช่น เสื้อลูกไม้ปักและเสื้อเชิ้ตมีปก กลายเป็นเครื่องแต่งกายที่นิยมสวมใส่ในชีวิตประจำวันของสตรีชั้นสูง อย่างไรก็ตาม ชาวสยามมิได้นำแฟชั่นกระโปรงแบบตะวันตกมาใช้ แต่ยังคงนุ่งโจงกระเบน ซึ่งมีความสำคัญทั้งในแง่ของประเพณีและสถานะทางสังคม

เหตุผลที่ราชสำนักสยามยังคงนุ่งโจงกระเบน

แม้ว่าแฟชั่นตะวันตกจะเริ่มมีอิทธิพลในราชสำนักสยามในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่การนุ่งโจงกระเบนยังคงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในหมู่สตรีชนชั้นสูง ด้วยเหตุผลสำคัญหลายประการ ได้แก่

  1. การรักษาประเพณีของสยาม

แม้ว่าสยามจะอยู่ในกระแสของการปรับตัวให้ทันสมัยและได้รับอิทธิพลจากตะวันตก แต่การนุ่งโจงกระเบนยังคงเป็นสัญลักษณ์สำคัญของอัตลักษณ์ไทย การรักษาขนบธรรมเนียมการแต่งกายดั้งเดิม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างสมดุลระหว่างความก้าวหน้าทางวัฒนธรรมและการอนุรักษ์เอกลักษณ์ของชาติ

  1. อิทธิพลของลัทธิล่าอาณานิคมและภาวะอาณานิคมแฝง (Crypto-Colonialism)

แม้ว่าสยามจะไม่เคยตกเป็นอาณานิคมของมหาอำนาจตะวันตก แต่สยามต้องดำเนินนโยบายต่างประเทศและการปฏิรูปในลักษณะที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นรัฐที่มีความทันสมัย การเลือกนำเสื้อแบบตะวันตกมาใช้แต่ยังคงนุ่งโจงกระเบน เป็นการประยุกต์รับอิทธิพลตะวันตกในแบบที่ยังคงรักษาความเป็นไทย สิ่งนี้สะท้อนถึง แนวคิดอาณานิคมแฝง (Crypto-Colonialism) ซึ่งหมายถึงการรับอิทธิพลจากอาณานิคมตะวันตกโดยไม่ได้อยู่ภายใต้การปกครองโดยตรง

  1. ระบบลำดับชั้นและสถานะของผ้าในราชสำนัก

ภายในราชสำนักสยาม ผ้าไม่ได้เป็นเพียงเครื่องแต่งกาย แต่เป็นสัญลักษณ์ของฐานะและยศศักดิ์ ระบบลำดับชั้นในราชสำนักสะท้อนผ่าน ชนิดของผ้าที่ใช้นุ่งห่ม ซึ่งผ้าแต่ละชนิดมีความหมายและถูกใช้เพื่อกำหนดสถานะของผู้สวมใส่

ดังนั้น การนุ่งโจงกระเบนจึงเป็นสัญลักษณ์สำคัญของสถานะของผู้สวมใส่ ในขณะที่เสื้อแบบตะวันตกสามารถถูกดัดแปลงหรือเลือกสวมใส่ตามแฟชั่น แต่โจงกระเบนยังคงทำหน้าที่เป็นเครื่องหมายของสถานะทางสังคมที่ชัดเจน

ความสำคัญของปกเสื้อในแฟชั่นปลายยุคเอ็ดเวิร์ดและแฟชั่นวัยรุ่นสตรีสยาม

ลักษณะเด่นของแฟชั่นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ การออกแบบปกเสื้อที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งสะท้อนถึงทั้ง อิทธิพลของโลกตะวันตก และ การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความทันสมัย ช่วงเวลานี้มีการใช้ปกเสื้อในหลากหลายรูปแบบ ได้แก่

  • ปกกะลาสีขนาดใหญ่ตกแต่งลวดลาย ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากแฟชั่นแนวทะเลที่เป็นที่นิยมทั้งในยุโรปและสยาม

  • ปกกลมอ่อนที่ประดับด้วยลูกไม้หรือปักลาย มักจับคู่กับเสื้อที่มีจีบละเอียดและกระดุมมุกเพื่อเพิ่มความประณีต

  • ปกแหลมแบบเสื้อเชิ้ตที่พบในเสื้อเบลาส์แบบ shirtwaist สะท้อนถึงความเป็นสมัยใหม่และความคล่องตัวในเสื้อผ้าสตรี

ใน ภาพที่ได้รับการปรับแต่งด้วย AI ฉลองพระองค์ของ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี มีลักษณะเป็น เสื้อลายทางติดกระดุมพร้อมปกเสื้อสีตัดกัน ซึ่งเป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมในช่วงปลายรัชสมัยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 และยุคแฟชั่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 รายละเอียดนี้ สอดคล้องกับภาพประกอบแฟชั่นตะวันตกในยุคเดียวกัน ขณะเดียวกันก็สะท้อนให้เห็นถึง วิธีที่สตรีชั้นสูงในสยามนำองค์ประกอบของแฟชั่นตะวันตกมาปรับใช้กับเครื่องแต่งกายในราชสำนัก

บทบาทของ AI ในประวัติศาสตร์นิพนธ์แฟชั่น

ภาพ AI ของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ภาพที่ได้รับการปรับแต่งด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) เหล่านี้สร้างขึ้นเพื่อ เสริมความเข้าใจเกี่ยวกับแฟชั่นประวัติศาสตร์ และช่วย จินตนาการถึงโครงร่างแฟชั่นในรูปแบบสี ซึ่งมักสูญหายไปในภาพถ่ายขาวดำ ภาพถ่ายขาวดำต้นฉบับสะท้อนให้เห็นถึง ฉลองพระองค์แบบสตรีชนชั้นสูงในสยามช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในยุคแฟชั่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ในขณะที่ ภาพที่ได้รับการปรับแต่งด้วย AI ช่วยฟื้นฟูรายละเอียดของเนื้อผ้า สี และองค์ประกอบของฉลองพระองค์

หนึ่งในภาพที่ได้รับการปรับแต่งแสดงให้เห็นว่า ทรงฉลองพระองค์เป็นเสื้อลูกไม้สีงาช้างที่มีปกสไตล์กะลาสี ซึ่งเป็น สไตล์ของฉลองพระองค์แบบเสื้อ (shirtwaist) ที่นิยมในช่วง Teens Fashion (1911–1919) สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึง การรับอิทธิพลจากแฟชั่นตะวันตกในขณะที่ยังคงรักษาเอกลักษณ์ไทยผ่านการนุ่งโจงกระเบน

จากการตีความภาพ สามารถสรุปได้ว่าแฟชั่นวัยรุ่นสตรีในสยามช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สะท้อนให้เห็นถึง การประยุกต์ใช้แฟชั่นตะวันตกในลักษณะที่ยังคงรักษาเอกลักษณ์ของสังคมไทย การผสมผสานระหว่าง ฉลองพระองค์แบบตะวันตกและโจงกระเบน ไม่ใช่เพียงเรื่องของความงาม แต่ยังเป็นเครื่องหมายของ สถานะ อำนาจ และอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม

AI สามารถนำมาใช้เป็นเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้เราสามารถ ศึกษาประวัติศาสตร์แฟชั่นในมุมมองใหม่ โดยช่วย ฟื้นฟูรายละเอียดของเสื้อผ้าและโครงร่างแฟชั่น ทำให้สามารถเข้าใจและจินตนาการถึง พัฒนาการของแฟชั่นผ่านบริบทของราชสำนักสยามและกระแสโลกในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้แม่นยำยิ่งขึ้น

#aifashionlab #AI #aiartist #aiart #aifashion #aifashiondesign #aifashionstyling #aifashiondesigner #fashion #fashionhistory #historyoffashion #fashionstyling #fashionphotography #digitalfashion #digitalfashiondesign #digitalcostumedesign #digitaldesign #digitalaiart #ThaiFashionHistory #ThaiFashionAI #flux #fluxlora

Previous
Previous

King Chulalongkorn and the Royal Hungarian Order of Saint Stephen: A Diplomatic Exchange in the Austro-Hungarian Expedition in 1869

Next
Next

The Evolution of Long Hairstyles in Siam: From ทรงดอกกระทุ่ม (Dok Krathum) to Western-Inspired Styles