Siamese Women's Fashion in the 1910s: A Fusion of Western Style and Thai Identity
Siamese women’s fashion in the 1910s exemplified a seamless fusion of Western modernity and traditional Thai identity. Although European styles influenced their attire, the jong kraben remained a fundamental element of dress. AI-generated images vividly illustrate this cultural synthesis, portraying how Siamese women adapted Western trends while preserving their heritage. This era represents a fascinating moment in Siamese fashion history, marking a transition between tradition and modernity.
Siamese Women's Fashion in the 1910s ‘The Late Edwardian Style’: A Fusion of Western Style and Thai Identity
During the 1910s, Western women's fashion transitioned from high-necked blouses to wide-necked, lace-adorned blouses with three-quarter sleeves, offering greater comfort and elegance. These garments, known as lingerie blouses, were typically made from muslin or finely embroidered cotton. Their airy and graceful aesthetic influenced fashion worldwide, including in Siam, where women adapted them to complement traditional attire.
Hairstyles also reflected Western influences, with women favouring neatly styled updos that paired well with delicate lace-trimmed blouses, enhancing a sophisticated and modern look. Rather than fully adopting Western dress, Siamese women integrated Edwardian-style blouses with jong kraben, the traditional Thai wraparound lower garment. This fusion created an ensemble that embodied both Western refinement and Thai heritage. The lightweight fabrics suited the tropical climate, while lace and embroidery showcased the intricacy of Thai textile craftsmanship.
A Transition to a New Era
During the reign of King Vajiravudh (Rama VI, 1910–1925), the fashion of Siamese aristocratic women evolved alongside global trends. Late Edwardian styles gradually blended into the Teens fashion era (1910–1919), which embraced simpler and more flowing silhouettes. While retaining Western tailoring influences, Thai women adapted the styles by incorporating draped fabrics in place of the traditional shoulder sash (sabais), while maintaining the use of jong kraben and regal jewellery.
Men’s fashion also reflected Western influences. The Raj pattern jacket (Ratcha Pratan), inspired by Indian court attire, became a standard uniform for government officials and was commonly worn with jong kraben. The colours of these garments often signified official ranks, with navy blue (si kram tha) denoting positions in the Ministry of Finance and Foreign Affairs.
A Unique Cultural Synthesis
Siamese women’s fashion in the 1910s exemplified a seamless fusion of Western modernity and traditional Thai identity. Although European styles influenced their attire, the jong kraben remained a fundamental element of dress. AI-generated images vividly illustrate this cultural synthesis, portraying how Siamese women adapted Western trends while preserving their heritage. This era represents a fascinating moment in Siamese fashion history, marking a transition between tradition and modernity.
แฟชั่นสตรีสยามในทศวรรษ 1910 ‘แฟชั่นสมัยเอ็ดเวิร์ดเดียนตอนปลาย’: การผสมผสานระหว่างสไตล์ตะวันตกและอัตลักษณ์ไทย
ในช่วงทศวรรษ 1910 แฟชั่นของสตรีตะวันตกเปลี่ยนจากเสื้อคอสูงเป็นเสื้อคอกว้างประดับลูกไม้และแขนสามส่วน ซึ่งให้ความสบายและอ่อนช้อยมากขึ้น เสื้อประเภทนี้เรียกว่า lingerie blouse มักทำจากผ้ามัสลินหรือผ้าฝ้ายที่มีลวดลายปักละเอียด ความเบาสบายและความสง่างามของเสื้อเหล่านี้ส่งอิทธิพลไปทั่วโลก รวมถึงสยาม ซึ่งสตรีนำมาประยุกต์เข้ากับเครื่องแต่งกายดั้งเดิม
ทรงผมก็ได้รับอิทธิพลจากแฟชั่นตะวันตก โดยนิยมเกล้าผมสูงและจัดแต่งอย่างประณีต ซึ่งเข้ากันได้ดีกับเสื้อลูกไม้ที่พลิ้วไหว ช่วยเสริมบุคลิกที่ทันสมัยและงามสง่า แทนที่จะรับเอาเสื้อผ้าแบบยุโรปทั้งชุด สตรีสยามเลือกจับคู่เสื้อสไตล์เอ็ดเวิร์ดเดียนกับโจงกระเบน ทำให้เกิดลุคที่สะท้อนความหรูหราแบบตะวันตกแต่ยังคงอัตลักษณ์ไทย เนื้อผ้าที่โปร่งเบาเหมาะกับอากาศร้อนชื้น ขณะที่ลูกไม้และงานปักสะท้อนถึงความประณีตของสิ่งทอไทย
การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคใหม่
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6, พ.ศ. 2453–2468) แฟชั่นของสตรีชนชั้นสูงเริ่มเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก สไตล์เอ็ดเวิร์ดเดียนตอนปลายค่อย ๆ ผสานเข้ากับแนวโน้มใหม่ของยุค Teens (พ.ศ. 2454-2462 หรือ ค.ศ. 1910-1919) ซึ่งเน้นความเรียบง่ายและพลิ้วไหวมากขึ้น เสื้อผ้ายังคงมีโครงสร้างแบบยุโรป แต่แฝงกลิ่นอายไทยผ่านการใช้ผ้าเดรปแทนสไบคาดเฉียง และการคงไว้ซึ่งโจงกระเบนและเครื่องประดับแบบราชสำนัก
แฟชั่นบุรุษในยุคนี้ก็ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกเช่นกัน เสื้อราชประแตน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากเครื่องแต่งกายราชสำนักอินเดีย กลายเป็นชุดข้าราชการที่นิยมสวมคู่กับโจงกระเบน สีของโจงกระเบนยังบ่งบอกตำแหน่งทางราชการ เช่น สีกรมท่าที่ใช้ในกระทรวงการคลังและการต่างประเทศ
สรุป: เอกลักษณ์ที่ผสมผสาน
แฟชั่นสตรีสยามในทศวรรษ 1910 สะท้อนถึงการผสมผสานระหว่างความทันสมัยของตะวันตกและรากเหง้าทางวัฒนธรรมไทย แม้เสื้อผ้าแบบยุโรปจะเข้ามามีอิทธิพล แต่โจงกระเบนยังคงเป็นองค์ประกอบหลักของการแต่งกาย ภาพที่สร้างขึ้นด้วย AI แสดงให้เห็นการปรับใช้แฟชั่นตะวันตกกับวัฒนธรรมไทยได้อย่างลงตัว ทำให้ยุคนี้เป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่านที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายสยาม































