The Evolution of Fashion During the Early Reign of King Rama V (1868–1880)
Western fashion was adopted as a diplomatic tool to present Siam as a modern nation while retaining elements of Thai tradition, such as jong kraben and Thai silk. This balance allowed the elite to project an image of progress without losing their cultural heritage. The fusion of styles played a crucial role in reinforcing Siam’s sovereignty and status on the global stage.
The Evolution of Fashion During the Early Reign of King Rama V (1868–1880)
During the early reign of King Chulalongkorn (1868–1880), Siamese fashion underwent significant changes, incorporating Western influences while preserving Thai identity. For men, Western-style shirts, cravats, and bow ties became popular, often paired with jong kraben (wrapped trousers) instead of European-style trousers. Formal occasions called for double-breasted coats, long tailcoats, and frock coats adorned with brass or gold buttons. Footwear shifted from barefoot customs to black leather shoes and white stockings, symbolising nobility and modernity. Hairstyles evolved from the Mahad Thai cropped style to slicked-back or side-parted looks, reflecting European bureaucratic fashion.
Western fashion was adopted as a diplomatic tool to present Siam as a modern nation while retaining elements of Thai tradition, such as jong kraben and Thai silk. This balance allowed the elite to project an image of progress without losing their cultural heritage. The fusion of styles played a crucial role in reinforcing Siam’s sovereignty and status on the global stage.
Women at the royal court began embracing Western styles, modifying garments to suit the tropical climate and local aesthetics. Inspired by the bustle dress, which emphasised a structured back silhouette, Siamese noblewomen adapted the look by incorporating Western-style blouses with scalloped lace collars, made from cotton, silk taffeta, or embroidered fabrics. Unlike European women, who wore tightly laced corsets, Siamese women opted for softer tailoring that allowed more comfort while maintaining elegance.
Rather than adopting full Western skirts, noblewomen paired Western blouses with jong kraben, blending Thai and European aesthetics. The sabais (shoulder cloths) remained an essential element, adding grace and tradition to the ensemble. This hybrid style reflected Siam’s ability to integrate modern influences while preserving its cultural roots.
Hairstyles remained distinctly Thai, with noblewomen favouring the Dok Krathum (chrysanthemum-shaped) short cut, which contrasted with elaborate Western hairstyles. Accessories included decorative stockings and flat leather shoes instead of high heels, aligning with local customs and practical needs.
This period marked a pivotal transformation in Siamese fashion, where Western elements were seamlessly integrated with traditional styles. The elite successfully fused both influences, creating a sartorial legacy that balanced modernity with cultural continuity, reinforcing Siam’s status as a progressive nation proud of its heritage.
วิวัฒนาการของแฟชั่นในช่วงต้นรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411–2423)
ในช่วงต้นรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411–2423) แฟชั่นสยามมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยรับอิทธิพลจากตะวันตกในขณะที่ยังคงรักษาเอกลักษณ์ไทยไว้ สำหรับฝ่ายหน้า เสื้อเชิ้ตแบบตะวันตก ผ้าผูกคอแบบคราเว็ต เป็นที่นิยม มักสวมคู่กับ โจงกระเบน แทนกางเกงขายาวแบบยุโรป ในโอกาสทางการนิยมสวมเสื้อโค้ทกระดุมสองแถว เสื้อโคทยาวหางแพนกวิ้น และเสื้อโคทแบบฟร็อกโค้ทที่ตกแต่งด้วยกระดุมทองเหลืองหรือทองคำ รองเท้าเปลี่ยนจากการเดินเท้าเปล่าเป็นรองเท้าหนังสีดำและถุงน่องสีขาว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของชนชั้นสูงและความทันสมัย ทรงผมเปลี่ยนจากทรงมหาดไทย เป็นผมยาวและมักจะเสยไปด้านหลังหรือแสกข้าง คล้ายข้าราชการยุโรป
แฟชั่นตะวันตกถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือทางการทูตเพื่อแสดงให้เห็นว่าสยามเป็นประเทศที่ทันสมัย โดยคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ไทย เช่น โจงกระเบนและผ้าไหมไทย ช่วยให้ชนชั้นสูงสามารถสะท้อนภาพลักษณ์ของความก้าวหน้าโดยไม่ละทิ้งอัตลักษณ์ของตนเอง
ฝ่ายในของราชสำนักเริ่มรับแฟชั่นตะวันตก โดยดัดแปลงเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับสภาพอากาศและรสนิยมของไทย โดยยืมโครงร่างเงาชุดกระโปรงแบบ bustle dress ซึ่งเน้นโครงด้านหลัง สตรีสยามรับมาแต่เสื้อท่อนบนแบบตะวันตกที่ตกแต่งด้วยลูกไม้และปกสวยงาม ผลิตจาก ผ้าฝ้าย ผ้าไหมทาฟเฟต้า หรือผ้าลูกไม้ ซึ่งให้ความสวยงามและสะดวกสบาย แตกต่างจากสตรีชาวยุโรปที่ต้องสวมคอร์เซ็ตแน่น สตรีไทยเลือกเสื้อที่ตัดเย็บให้สวมใส่ได้ง่ายขึ้นแต่ยังคงความสง่างาม
แทนที่จะสวมกระโปรงแบบตะวันตกเต็มตัว สตรีชั้นสูงจับคู่เสื้อท่อนบนแบบตะวันตกกับ โจงกระเบน ทำให้เกิดสไตล์ที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว สไบยังคงเป็นองค์ประกอบสำคัญ เพิ่มความงามสง่าพร้อมคงไว้ซึ่งรากเหง้าทางวัฒนธรรม การผสมผสานนี้สะท้อนถึงความสามารถในการรับเอาอิทธิพลจากภายนอกโดยยังคงรักษาอัตลักษณ์ไทย
ทรงผมยังคงเป็นเอกลักษณ์ของไทย โดยสตรีชั้นสูงนิยมทรง ดอกกระทุ่มซึ่งเป็นผมสั้นที่เรียบง่าย ตัดกับทรงผมสูงซับซ้อนของชาวตะวันตก เครื่องประดับที่นิยม ได้แก่ ถุงน่องปักลายและรองเท้าหนังแบบเรียบ แทนที่จะใช้รองเท้าส้นสูงแบบยุโรป ซึ่งสะท้อนถึงรสนิยมและความสะดวกสบายตามวิถีไทย
ช่วงเวลานี้เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของแฟชั่นสยาม ซึ่งสามารถผสมผสานอิทธิพลตะวันตกเข้ากับสไตล์ไทยได้อย่างลงตัว ชนชั้นสูงสามารถหลอมรวมแฟชั่นทั้งสองเข้าด้วยกัน สร้างมรดกทางการแต่งกายที่แสดงถึงความทันสมัยควบคู่ไปกับการรักษาเอกลักษณ์แห่งชาติ ตอกย้ำสถานะของสยามในฐานะประเทศที่ก้าวหน้าและภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง
#aifashionlab #AI #aiartist #aiart #aifashion #aifashiondesign #aifashionstyling #aifashiondesigner #fashion #fashionhistory #historyoffashion #fashionstyling #fashionphotography #digitalfashion #digitalfashiondesign #digitalcostumedesign #digitaldesign #digitalaiart


























