แฟชั่นล้านนายุคเปลี่ยนผ่าน: การแต่งกายในทศวรรษ 2480
แฟชั่นล้านนายุคเปลี่ยนผ่าน: การแต่งกายในทศวรรษ 2480
คอลเลกชันภาพแฟชั่นชุดนี้สร้างขึ้นด้วยเทคโนโลยี AI โดยได้รับแรงบันดาลใจจากการแต่งกายของชายและหญิงในจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงทศวรรษ 2480–2490 ซึ่งเป็นยุคเปลี่ยนผ่านสำคัญของวัฒนธรรมไทย การออกแบบเครื่องแต่งกายอ้างอิงจากภาพถ่ายโบราณและคำบอกเล่าท้องถิ่นในล้านนา ที่สะท้อนถึงความสง่างามและอัตลักษณ์ของชาวบ้านในช่วงเวลาก่อนที่การแต่งกายแบบตะวันตกจะถูกผลักดันให้เป็นมาตรฐานระดับชาติ
ชายหนุ่มในภาพสวม เสื้อราชประแตนสีขาว คู่กับ กางเกงสะดอ ซึ่งเป็นเครื่องแต่งกายแบบพิธีการของชาวเหนือ ขณะที่หญิงสาวสวม เสื้อแขนกระบอก กับ ผ้าซิ่น และ สะใบ แสดงถึงความอ่อนช้อยของหญิงล้านนาในยุคนั้น
ภาพเหล่านี้เป็น การสร้างสรรค์ด้วย AI ที่มุ่งหวังจะถ่ายทอดจินตนาการถึงการแต่งกายของชาวเชียงใหม่ในโอกาสสำคัญช่วงปี 2480s โดยเฉพาะในช่วงก่อนการบังคับใช้นโยบาย รัฐนิยม อย่างเต็มรูปแบบภายใต้จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีผลโดยตรงต่อวัฒนธรรมการแต่งกายของชาวล้านนาให้เป็นเป็นตามเป็นรัฐนิยม
Lanna in Transition: Fashion of the 1940s
This AI-generated fashion collection draws inspiration from the traditional attire worn by men and women in Chiang Mai during the 1940s, a pivotal era of cultural transition in Thailand. The styling is based on archival photographs and oral histories from the Lanna region, which capture the elegance and identity of the local people before Western-style clothing became the national standard.
The man wears a Raj-pattern jacket (เสื้อราชประแตน) paired with northern-style farmer trousers (กางเกงสะดอ)—a distinctive formal look still embraced in northern ceremonial settings of the time. Standing beside him, the woman wears a fitted long-sleeved blouse with a silk pha sin (ซิ่นไหม) and a draped sabai (สะใบ) pinned with a golden brooch, representing a graceful interpretation of mid-century Lanna femininity.
This collection is not based on real photographs but AI-enhanced visualisations that reimagine how everyday people in Chiang Mai may have dressed for formal occasions in the 1940s. It aims to preserve the memory of Lanna fashion heritage during a moment of national transformation, just before the full implementation of the Ratthaniyom dress codes under Field Marshal Phibunsongkhram.

























































