The Role of AI in Reviving King Rama IV's Fashion

Attire of Common Women: During King Rama IV’s reign, women of the common class dressed in practical yet elegant styles. Their attire often included jong kraben (wrapped trousers) or pleated skirts, paired with a front-buttoned blouse featuring a low-standing collar and narrow sleeves extending to the wrists. This blouse, known as “seua krabok”, was tailored to fit closely to the body and stopped at the waist. A pleated silk shawl, draped diagonally across the body, added a touch of grace to the ensemble. This shawl style became known as “phrae sapai” during King Rama V’s reign. Such attire reflected the modesty, simplicity, and functionality of daily life, where cleanliness and a neat appearance were paramount.

The Role of AI in Reviving King Rama IV's Fashion

Advancements in AI technology have provided incredible opportunities to explore and bring history to life in ways that were once unimaginable. Through careful model training, I’ve been able to create detailed illustrations of fashion from King Rama IV’s era, capturing the essence of this culturally rich period with remarkable accuracy.

While traditional AI prompting tools have their strengths, they often lack the nuanced understanding needed to replicate Thai fashion history. Most AI models are developed with a focus on Western-centric data, which poses challenges when trying to recreate the intricate details of Siamese attire. To overcome this, I dedicated myself to meticulously colourising old black-and-white images and using these as the foundation to train a custom AI model. The results have been incredibly rewarding, revealing the rich textures, patterns, and elegance of Thai fashion that might otherwise remain inaccessible to the world.

These illustrations go beyond aesthetics—they serve as a gateway to exploring Thailand’s cultural heritage, offering an opportunity to celebrate the beauty of a historical era that deserves more global attention. Below is a closer look at the distinctive fashion of King Rama IV's time:

Fashion in King Rama IV’s Era (r. 1851-1868)

Attire of Common Women: During King Rama IV’s reign, women of the common class dressed in practical yet elegant styles. Their attire often included jong kraben (wrapped trousers) or pleated skirts, paired with a front-buttoned blouse featuring a low-standing collar and narrow sleeves extending to the wrists. This blouse, known as “seua krabok”, was tailored to fit closely to the body and stopped at the waist. A pleated silk shawl, draped diagonally across the body, added a touch of grace to the ensemble. This shawl style became known as “phrae sapai” during King Rama V’s reign. Such attire reflected the modesty, simplicity, and functionality of daily life, where cleanliness and a neat appearance were paramount.

Attire of the Elite: For women of noble birth, clothing was a clear symbol of status and wealth. Luxurious fabrics like gold-brocade textiles and krachiek fabrics were highly favoured, signifying refinement and prosperity. Elaborate jewellery further distinguished the elite, with items such as thap suang pendants, gold collars (taat), bracelets (pahurat), ear pendants (sa-ing), necklaces, and diamond rings adorning their outfits. These ensembles were typically reserved for important ceremonies and royal audiences, reflecting the wearer’s elegance and reverence for court traditions.

Western Influence on Siamese Fashion

The reign of King Rama IV coincided with increased diplomatic and cultural exchanges with the West, particularly Britain and France. These interactions introduced new ideas into the Siamese court, including changes to attire. For example:

* Members of the court began incorporating Western elements, such as wearing leather shoes or tailored jackets over traditional jong kraben.

* These adaptations demonstrated modernisation and allowed Siam to present itself as a forward-thinking and civilised nation, aligned with global diplomatic norms.

Such changes reflected King Rama IV’s vision of balancing tradition with progress, ensuring that Siam retained its cultural identity while embracing new opportunities for growth and connection.

AI has become a valuable tool in reimagining and preserving history, allowing us to dive into the rich tapestry of Thailand’s cultural legacy. By combining traditional research with advanced AI capabilities, we can not only celebrate the elegance and artistry of Siamese fashion but also share its beauty with a wider audience. This work reminds us that history is not static—it can be rediscovered, reinterpreted, and brought to life in ways that continue to inspire.

บทบาทของ AI ในการฟื้นคืนชีพแฟชั่นยุครัชกาลที่ ๔

เทคโนโลยี AI ที่พัฒนามาอย่างก้าวหน้าได้เปิดโอกาสในการสำรวจและนำประวัติศาสตร์กลับมามีชีวิตอีกครั้ง ด้วยการฝึกโมเดล AI อย่างพิถีพิถัน ผมสามารถสร้าง ภาพพร้อมรายละเอียดของแฟชั่นในยุครัชกาลที่ ๔ ที่สะท้อนถึงเสน่ห์และวัฒนธรรมที่ลึกซึ้งของช่วงเวลานั้นได้อย่างงดงาม

แม้ว่าเครื่องมือ AI ทั่วไปจะมีจุดเด่น แต่กลับขาดความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับประวัติศาสตร์แฟชั่นของไทย ซึ่งมักเน้นฐานข้อมูลจากตะวันตก และการพร้อมหรือสร้างคำสั่งจากข้อความสู่รูปภาพเพื่อสร้างแฟชั่นในอดีตของไทยที่ซับซ้อนจึงเป็นเรื่องท้าทาย วิธีที่ผมใช้แก้ปัญหานี้คือการ ลงสีภาพขาวดำเก่าอย่างละเอียด และใช้ภาพเหล่านั้นในการฝึกโมเดล AI ของตนเอง เพื่อพัฒนาให้ตอบสนองต่อข้อมูลแฟชั่นในอดีตของไทยโดยเฉพาะ ผลลัพธ์ที่ได้มีความ สมจริงและน่าประทับใจอย่างยิ่ง

ภาพประกอบเหล่านี้ไม่ได้เป็นเพียงงานศิลปะ แต่ยังเป็นประตูสู่การสำรวจ มรดกทางวัฒนธรรมของไทย ช่วยให้เราได้ฉลองความงดงามของยุคที่สมควรได้รับการยอมรับและความสนใจมากขึ้นในบริบทแฟชั่นระดับโลก ต่อไปนี้คือภาพรวมของแฟชั่นในสมัยรัชกาลที่ ๔:

แฟชั่นในยุครัชกาลที่ ๔ (พ.ศ. 2394 - 2411)

การแต่งกายของผู้หญิงสามัญชน: ในยุครัชกาลที่ ๔ ผู้หญิงสามัญชนแต่งกายด้วย สไตล์ที่เรียบง่ายแต่สง่างาม โดยมัก นุ่งโจงกระเบน หรือ นุ่งผ้าจีบ ควบคู่กับ เสื้อผ่าอก ที่มี คอตั้งไม่สูงมาก และ ปลายแขนแคบยาวจรดข้อมือ เสื้อชนิดนี้เรียกว่า “เสื้อแขนกระบอก” ออกแบบให้พอดีกับรูปร่างและยาวเพียงระดับเอว ชุดนี้มักทับด้วย แพรสไบจีบเฉียง ที่ห่มทับบนเสื้อ เพิ่มความสง่างามให้กับชุด และในยุครัชกาลที่ ๕ ผ้าสไบชนิดนี้จะถูกเรียกว่า “แพรสะไบ” การแต่งกายลักษณะนี้สะท้อนถึง ความเรียบง่ายและเหมาะสมกับวิถีชีวิตประจำวัน ที่เน้นความสะอาดและความสุภาพเรียบร้อย

การแต่งกายของชนชั้นสูง: สำหรับสตรีชนชั้นสูง การแต่งกายถือเป็นการแสดงถึง ฐานะและความมั่งคั่ง โดยนิยมใช้ผ้าหรูหรา เช่น ผ้ายกทอง หรือ ผ้ากระเจียก ซึ่งเป็นตัวแทนของความประณีตและความร่ำรวย เครื่องประดับ เช่น ทับทรวง, ตาด, พาหุรัด, สะอิ้ง, สร้อยสังวาลย์, และ แหวนเพชร ช่วยเพิ่มความสง่างามและคุณค่าให้กับการแต่งกาย โดยชุดเช่นนี้มักสวมใส่ใน พระราชพิธีสำคัญ หรือ การเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ เพื่อแสดงถึง ความงดงามและความเคารพในธรรมเนียมราชสำนัก

อิทธิพลจากตะวันตกต่อแฟชั่นไทย

ในยุครัชกาลที่ ๔ เป็นช่วงเวลาที่สยามเริ่มมี การติดต่อทางการทูตและวัฒนธรรมกับชาติตะวันตก เช่น อังกฤษและฝรั่งเศส ความสัมพันธ์เหล่านี้นำมาซึ่งแนวคิดใหม่ๆ ที่ส่งผลต่อการแต่งกายในราชสำนัก เช่น:

* เริ่มมีการนำ องค์ประกอบตะวันตก มาใช้ เช่น รองเท้าหนัง และ เสื้อคลุมแบบตะวันตก สวมทับโจงกระเบน

* การปรับเปลี่ยนเหล่านี้สะท้อนถึง ความทันสมัย และความพยายามที่จะนำเสนอภาพลักษณ์ของสยามในฐานะประเทศที่มีความก้าวหน้าและเท่าเทียมในเวทีโลก

สิ่งเหล่านี้สะท้อนถึง วิสัยทัศน์ของรัชกาลที่ ๔ ในการรักษาสมดุลระหว่างความเป็นไทยและการปรับตัวให้เข้ากับโลกสมัยใหม่

AI เป็นเครื่องมือที่มีคุณค่าอย่างมากในการ ฟื้นคืนและอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ ช่วยเปิดประตูสู่การสำรวจมรดกทางวัฒนธรรมของไทยอย่างลึกซึ้ง การผสมผสานระหว่างการวิจัยแบบดั้งเดิมกับความสามารถของ AI ทำให้เราสามารถเฉลิมฉลอง ความงามและศิลปะของแฟชั่นไทย ในยุครัชกาลที่ ๔ ได้อย่างมีชีวิตชีวาและสมจริงยิ่งขึ้น ซึ่งนับเป็นการยกระดับการสร้างประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายให้มีความสำคัญ

#aifashionlab #AI #aiartist #aiart #aifashion #aifashiondesign #aifashionstyling #aifashiondesigner #fashion #fashionhistory #historyoffashion #fashionstyling #fashionphotography #digitalfashion #digitalfashiondesign #digitalcostumedesign #digitaldesign #digitalaiart #promptography #promptographer #fashionpromptography #AImodeltraining #AIFashionofThailand


Previous
Previous

The Art of Courtly Attire: “Nung Yok Hom Tad” in the Reign of King Rama IV

Next
Next

La Belle Époque of Siam: The Era of Elegance in the Early Reign of King Rama V (1870s–1880s)